google.com, pub-2709829493138336, DIRECT, f08c47fec0942fa0

Army Chef กองทัพภาคที่ 3

Army Chef กองทัพภาคที่ 3

กองทัพภาคที่ 3 จัดกิจกรรม Army Farm Army Chef กองทัพภาคที่ 3 ครั้งที่ 3 ประจำปี 2566 ตามนโยบายของกองทัพบก ภายใต้แนวความคิด “อาหารจากบทพระราชนิพนธ์ ตามรอยศาสตร์พระราชา” เพื่อฝึกฝนการทำอาหารรสชาติอร่อย และมีโภชนาการที่ดี บนรถครัวสนามของกองทัพบก สำหรับช่วยเหลือประชาชนในยาม เกิดภัยพิบัติ และเป็นตัวแทนของกองทัพภาคที่ 3 เข้าร่วมแข่งขันการทำอาหารในระดับกองทัพบกต่อไป โดยเชิญข้าราชการ, ครอบครัว, นักศึกษาวิชาทหาร และทหารกองประจำการ ที่เป็นสุดยอดพ่อครัว จำนวน 45 นาย จากทั่วภาคเหนือใน 15 หน่วยขึ้นตรงกองทัพภาคที่ 3 มาฝึกฝนและพัฒนาฝีมือ ด้วยการประกอบอาหารเลิศรส จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 และวัตถุดิบคุณภาพ จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3 มาร่วมแข่งขัน ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 ณ สโมสรบันเทิงทัพ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก สำหรับกิจกรรม Army Farm Army Chef กองทัพภาคที่ 3 ในครั้งนี้ ประกอบด้วย
1. กิจกรรมการแข่งขันการประกอบอาหาร มีหลักเกณฑ์การแข่งขัน ดังนี้
1.1 รายการอาหารในการแข่งขันรอบคัดเลือก ประกอบด้วย อาหารคาว 1 อย่าง และอาหารหวาน 1 อย่าง ระยะเวลาในการแข่งขัน 60 นาที
– อาหารคาว จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2
– อาหารหวาน ผลิตภัณฑ์จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3
1.2 รายการอาหารในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ประกอบด้วย อาหารคาว 1 อย่าง และอาหารหวาน 1 อย่าง ระยะเวลาในการแข่งขัน 55 นาที
– อาหารคาว เป็นอาหารเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของสมุนไพร จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3
– อาหารหวาน จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2
ผลการแข่งขันทีมชนะเลิศ กิจกรรม Army Farm Army Chef ในครั้งนี้ ได้แก่ มณฑลทหารบกที่ 32 ในรายการอาหาร ครบเครื่องเรื่องมัสมั่น, ข้าวกุกุฎนคร (ข้าวคลุกอ่องปู), คิมหันต์พรรณลูกไม้ (วุ้นผลไม้สด), อรชรช่อม่วงพวงพุดตาน (ช่อม่วงกับจีบนก)

2. กิจกรรมการประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน มีหลักเกณฑ์การแข่งขัน ได้แก่
ผู้เข้าร่วมการแข่งขันเป็นกำลังพล (นายทหารสัญญาบัตร, นายทหารประทวน, พลอาสา หรือ ลูกจ้าง) จำนวนหน่วยละ 1 นาย (รวม 15 นาย) ประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เพื่ออนุรักษ์ความเป็นไทย และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ผลการแข่งขันผู้ชนะเลิศ กิจกรรมการประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ในครั้งนี้ ได้แก่ สิบโท ธารายุทธ ศิริภาพ สังกัด มณฑลทหารบกที่ 31

ในการนี้ พลโท สุริยะ เอี่ยมสุโร แม่ทัพภาคที่ 3 ได้ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีมอบใบประกาศนียบัตร และโล่รางวัลแก่ทีมชนะเลิศ ทั้ง 2 กิจกรรม รวมทั้งได้ร่วมประกอบอาหารบนรถครัวสนามของกองทัพบก ร่วมกับเจ้าหน้าที่สูทกรรม กองพันทหารม้าที่ 9 กองพลทหารราบที่ 4 ในเมนู “ไก่ปลาร้า” เพื่อฝึกฝน และเป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับช่วยเหลือประชาชนในยามเกิดภัยพิบัติ

จึงขอเรียนให้พี่น้องประชาชน ในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือทราบ เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า กองทัพบก โดย กองทัพภาคที่ 3 พร้อมที่จะเคียงข้างพี่น้องประชาชน ในการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ในยามภัยพิบัติในทุกมิติ ให้พ้นจากวิกฤตการณ์ ในทุกโอกาส.

ทรงวุฒิ ทับทอง

Army Chef กองทัพภาคที่ 3

Army Chef กองทัพภาคที่ 3

กองทัพภาคที่ 3 จัดกิจกรรม Army Farm Army Chef กองทัพภาคที่ 3 ครั้งที่ 3 ประจำปี 2566 ตามนโยบายของกองทัพบก ภายใต้แนวความคิด “อาหารจากบทพระราชนิพนธ์ ตามรอยศาสตร์พระราชา” เพื่อฝึกฝนการทำอาหารรสชาติอร่อย และมีโภชนาการที่ดี บนรถครัวสนามของกองทัพบก สำหรับช่วยเหลือประชาชนในยาม เกิดภัยพิบัติ และเป็นตัวแทนของกองทัพภาคที่ 3 เข้าร่วมแข่งขันการทำอาหารในระดับกองทัพบกต่อไป โดยเชิญข้าราชการ, ครอบครัว, นักศึกษาวิชาทหาร และทหารกองประจำการ ที่เป็นสุดยอดพ่อครัว จำนวน 45 นาย จากทั่วภาคเหนือใน 15 หน่วยขึ้นตรงกองทัพภาคที่ 3 มาฝึกฝนและพัฒนาฝีมือ ด้วยการประกอบอาหารเลิศรส จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 และวัตถุดิบคุณภาพ จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3 มาร่วมแข่งขัน ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 ณ สโมสรบันเทิงทัพ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก สำหรับกิจกรรม Army Farm Army Chef กองทัพภาคที่ 3 ในครั้งนี้ ประกอบด้วย
1. กิจกรรมการแข่งขันการประกอบอาหาร มีหลักเกณฑ์การแข่งขัน ดังนี้
1.1 รายการอาหารในการแข่งขันรอบคัดเลือก ประกอบด้วย อาหารคาว 1 อย่าง และอาหารหวาน 1 อย่าง ระยะเวลาในการแข่งขัน 60 นาที
– อาหารคาว จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2
– อาหารหวาน ผลิตภัณฑ์จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3
1.2 รายการอาหารในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ประกอบด้วย อาหารคาว 1 อย่าง และอาหารหวาน 1 อย่าง ระยะเวลาในการแข่งขัน 55 นาที
– อาหารคาว เป็นอาหารเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของสมุนไพร จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3
– อาหารหวาน จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2
ผลการแข่งขันทีมชนะเลิศ กิจกรรม Army Farm Army Chef ในครั้งนี้ ได้แก่ มณฑลทหารบกที่ 32 ในรายการอาหาร ครบเครื่องเรื่องมัสมั่น, ข้าวกุกุฎนคร (ข้าวคลุกอ่องปู), คิมหันต์พรรณลูกไม้ (วุ้นผลไม้สด), อรชรช่อม่วงพวงพุดตาน (ช่อม่วงกับจีบนก)

2. กิจกรรมการประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน มีหลักเกณฑ์การแข่งขัน ได้แก่
ผู้เข้าร่วมการแข่งขันเป็นกำลังพล (นายทหารสัญญาบัตร, นายทหารประทวน, พลอาสา หรือ ลูกจ้าง) จำนวนหน่วยละ 1 นาย (รวม 15 นาย) ประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เพื่ออนุรักษ์ความเป็นไทย และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ผลการแข่งขันผู้ชนะเลิศ กิจกรรมการประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ในครั้งนี้ ได้แก่ สิบโท ธารายุทธ ศิริภาพ สังกัด มณฑลทหารบกที่ 31

ในการนี้ พลโท สุริยะ เอี่ยมสุโร แม่ทัพภาคที่ 3 ได้ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีมอบใบประกาศนียบัตร และโล่รางวัลแก่ทีมชนะเลิศ ทั้ง 2 กิจกรรม รวมทั้งได้ร่วมประกอบอาหารบนรถครัวสนามของกองทัพบก ร่วมกับเจ้าหน้าที่สูทกรรม กองพันทหารม้าที่ 9 กองพลทหารราบที่ 4 ในเมนู “ไก่ปลาร้า” เพื่อฝึกฝน และเป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับช่วยเหลือประชาชนในยามเกิดภัยพิบัติ

จึงขอเรียนให้พี่น้องประชาชน ในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือทราบ เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า กองทัพบก โดย กองทัพภาคที่ 3 พร้อมที่จะเคียงข้างพี่น้องประชาชน ในการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ในยามภัยพิบัติในทุกมิติ ให้พ้นจากวิกฤตการณ์ ในทุกโอกาส.

ทรงวุฒิ ทับทอง

Army Chef กองทัพภาคที่ 3

Army Chef กองทัพภาคที่ 3

กองทัพภาคที่ 3 จัดกิจกรรม Army Farm Army Chef กองทัพภาคที่ 3 ครั้งที่ 3 ประจำปี 2566 ตามนโยบายของกองทัพบก ภายใต้แนวความคิด “อาหารจากบทพระราชนิพนธ์ ตามรอยศาสตร์พระราชา” เพื่อฝึกฝนการทำอาหารรสชาติอร่อย และมีโภชนาการที่ดี บนรถครัวสนามของกองทัพบก สำหรับช่วยเหลือประชาชนในยาม เกิดภัยพิบัติ และเป็นตัวแทนของกองทัพภาคที่ 3 เข้าร่วมแข่งขันการทำอาหารในระดับกองทัพบกต่อไป โดยเชิญข้าราชการ, ครอบครัว, นักศึกษาวิชาทหาร และทหารกองประจำการ ที่เป็นสุดยอดพ่อครัว จำนวน 45 นาย จากทั่วภาคเหนือใน 15 หน่วยขึ้นตรงกองทัพภาคที่ 3 มาฝึกฝนและพัฒนาฝีมือ ด้วยการประกอบอาหารเลิศรส จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 และวัตถุดิบคุณภาพ จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3 มาร่วมแข่งขัน ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 ณ สโมสรบันเทิงทัพ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก สำหรับกิจกรรม Army Farm Army Chef กองทัพภาคที่ 3 ในครั้งนี้ ประกอบด้วย
1. กิจกรรมการแข่งขันการประกอบอาหาร มีหลักเกณฑ์การแข่งขัน ดังนี้
1.1 รายการอาหารในการแข่งขันรอบคัดเลือก ประกอบด้วย อาหารคาว 1 อย่าง และอาหารหวาน 1 อย่าง ระยะเวลาในการแข่งขัน 60 นาที
– อาหารคาว จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2
– อาหารหวาน ผลิตภัณฑ์จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3
1.2 รายการอาหารในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ประกอบด้วย อาหารคาว 1 อย่าง และอาหารหวาน 1 อย่าง ระยะเวลาในการแข่งขัน 55 นาที
– อาหารคาว เป็นอาหารเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของสมุนไพร จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3
– อาหารหวาน จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2
ผลการแข่งขันทีมชนะเลิศ กิจกรรม Army Farm Army Chef ในครั้งนี้ ได้แก่ มณฑลทหารบกที่ 32 ในรายการอาหาร ครบเครื่องเรื่องมัสมั่น, ข้าวกุกุฎนคร (ข้าวคลุกอ่องปู), คิมหันต์พรรณลูกไม้ (วุ้นผลไม้สด), อรชรช่อม่วงพวงพุดตาน (ช่อม่วงกับจีบนก)

2. กิจกรรมการประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน มีหลักเกณฑ์การแข่งขัน ได้แก่
ผู้เข้าร่วมการแข่งขันเป็นกำลังพล (นายทหารสัญญาบัตร, นายทหารประทวน, พลอาสา หรือ ลูกจ้าง) จำนวนหน่วยละ 1 นาย (รวม 15 นาย) ประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เพื่ออนุรักษ์ความเป็นไทย และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ผลการแข่งขันผู้ชนะเลิศ กิจกรรมการประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ในครั้งนี้ ได้แก่ สิบโท ธารายุทธ ศิริภาพ สังกัด มณฑลทหารบกที่ 31

ในการนี้ พลโท สุริยะ เอี่ยมสุโร แม่ทัพภาคที่ 3 ได้ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีมอบใบประกาศนียบัตร และโล่รางวัลแก่ทีมชนะเลิศ ทั้ง 2 กิจกรรม รวมทั้งได้ร่วมประกอบอาหารบนรถครัวสนามของกองทัพบก ร่วมกับเจ้าหน้าที่สูทกรรม กองพันทหารม้าที่ 9 กองพลทหารราบที่ 4 ในเมนู “ไก่ปลาร้า” เพื่อฝึกฝน และเป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับช่วยเหลือประชาชนในยามเกิดภัยพิบัติ

จึงขอเรียนให้พี่น้องประชาชน ในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือทราบ เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า กองทัพบก โดย กองทัพภาคที่ 3 พร้อมที่จะเคียงข้างพี่น้องประชาชน ในการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ในยามภัยพิบัติในทุกมิติ ให้พ้นจากวิกฤตการณ์ ในทุกโอกาส.

ทรงวุฒิ ทับทอง

Army Chef กองทัพภาคที่ 3

Army Chef กองทัพภาคที่ 3

กองทัพภาคที่ 3 จัดกิจกรรม Army Farm Army Chef กองทัพภาคที่ 3 ครั้งที่ 3 ประจำปี 2566 ตามนโยบายของกองทัพบก ภายใต้แนวความคิด “อาหารจากบทพระราชนิพนธ์ ตามรอยศาสตร์พระราชา” เพื่อฝึกฝนการทำอาหารรสชาติอร่อย และมีโภชนาการที่ดี บนรถครัวสนามของกองทัพบก สำหรับช่วยเหลือประชาชนในยาม เกิดภัยพิบัติ และเป็นตัวแทนของกองทัพภาคที่ 3 เข้าร่วมแข่งขันการทำอาหารในระดับกองทัพบกต่อไป โดยเชิญข้าราชการ, ครอบครัว, นักศึกษาวิชาทหาร และทหารกองประจำการ ที่เป็นสุดยอดพ่อครัว จำนวน 45 นาย จากทั่วภาคเหนือใน 15 หน่วยขึ้นตรงกองทัพภาคที่ 3 มาฝึกฝนและพัฒนาฝีมือ ด้วยการประกอบอาหารเลิศรส จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 และวัตถุดิบคุณภาพ จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3 มาร่วมแข่งขัน ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 ณ สโมสรบันเทิงทัพ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก สำหรับกิจกรรม Army Farm Army Chef กองทัพภาคที่ 3 ในครั้งนี้ ประกอบด้วย
1. กิจกรรมการแข่งขันการประกอบอาหาร มีหลักเกณฑ์การแข่งขัน ดังนี้
1.1 รายการอาหารในการแข่งขันรอบคัดเลือก ประกอบด้วย อาหารคาว 1 อย่าง และอาหารหวาน 1 อย่าง ระยะเวลาในการแข่งขัน 60 นาที
– อาหารคาว จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2
– อาหารหวาน ผลิตภัณฑ์จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3
1.2 รายการอาหารในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ประกอบด้วย อาหารคาว 1 อย่าง และอาหารหวาน 1 อย่าง ระยะเวลาในการแข่งขัน 55 นาที
– อาหารคาว เป็นอาหารเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของสมุนไพร จากโครงการทหารพันธุ์ดี กองทัพภาคที่ 3
– อาหารหวาน จากบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2
ผลการแข่งขันทีมชนะเลิศ กิจกรรม Army Farm Army Chef ในครั้งนี้ ได้แก่ มณฑลทหารบกที่ 32 ในรายการอาหาร ครบเครื่องเรื่องมัสมั่น, ข้าวกุกุฎนคร (ข้าวคลุกอ่องปู), คิมหันต์พรรณลูกไม้ (วุ้นผลไม้สด), อรชรช่อม่วงพวงพุดตาน (ช่อม่วงกับจีบนก)

2. กิจกรรมการประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน มีหลักเกณฑ์การแข่งขัน ได้แก่
ผู้เข้าร่วมการแข่งขันเป็นกำลังพล (นายทหารสัญญาบัตร, นายทหารประทวน, พลอาสา หรือ ลูกจ้าง) จำนวนหน่วยละ 1 นาย (รวม 15 นาย) ประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เพื่ออนุรักษ์ความเป็นไทย และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ผลการแข่งขันผู้ชนะเลิศ กิจกรรมการประกวดขับบทกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ในครั้งนี้ ได้แก่ สิบโท ธารายุทธ ศิริภาพ สังกัด มณฑลทหารบกที่ 31

ในการนี้ พลโท สุริยะ เอี่ยมสุโร แม่ทัพภาคที่ 3 ได้ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีมอบใบประกาศนียบัตร และโล่รางวัลแก่ทีมชนะเลิศ ทั้ง 2 กิจกรรม รวมทั้งได้ร่วมประกอบอาหารบนรถครัวสนามของกองทัพบก ร่วมกับเจ้าหน้าที่สูทกรรม กองพันทหารม้าที่ 9 กองพลทหารราบที่ 4 ในเมนู “ไก่ปลาร้า” เพื่อฝึกฝน และเป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับช่วยเหลือประชาชนในยามเกิดภัยพิบัติ

จึงขอเรียนให้พี่น้องประชาชน ในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือทราบ เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า กองทัพบก โดย กองทัพภาคที่ 3 พร้อมที่จะเคียงข้างพี่น้องประชาชน ในการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ในยามภัยพิบัติในทุกมิติ ให้พ้นจากวิกฤตการณ์ ในทุกโอกาส.

ทรงวุฒิ ทับทอง

วัดต้นแบบ สร้างมาตรฐานดีเด่น ระดับหนเหนือ

วัดต้นแบบ สร้างมาตรฐานดีเด่น ระดับหนเหนือ

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 พระเดชพระคุณ พระพรหมเสนาบดี กรรมการมหาเถรสมาคม,เจ้าคณะภาค ๗,เจ้าอาวาสวัดปทุมคงคา ราชวรวิหาร เป็นประธานมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ,พัดยศ โครงการ วัด ประชา รัฐ สร้างสุข ให้ “วัดวังสิงห์คำ” จังหวัดเชียงใหม่ วัดต้นแบบ สร้างมาตรฐานดีเด่น ระดับหนเหนือ ประจำปี พ.ศ.2565 โดยมีพระครูวิสิฐสีลาภรณ์ เจ้าคณะตำบลป่าแดด เจ้าอาวาสวัดวังสิงห์คำ เป็นผู้รับเนื่องในเทศกาลสัปดาห์ส่งเสริมกาเผยแผ่พระพุทธศาสนาวันมาฆบูชา ประจำปี 2566 โดยมีคณะสงฆ์ คณะศรัทธา ศิษยยานุศิษย์ ร่วมถวายมุทิตาจิต ณ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

ทรงวุฒิ ทับทอง / ณัฐพล แสนเมืองมา

วัดต้นแบบ สร้างมาตรฐานดีเด่น ระดับหนเหนือ

วัดต้นแบบ สร้างมาตรฐานดีเด่น ระดับหนเหนือ

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 พระเดชพระคุณ พระพรหมเสนาบดี กรรมการมหาเถรสมาคม,เจ้าคณะภาค ๗,เจ้าอาวาสวัดปทุมคงคา ราชวรวิหาร เป็นประธานมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ,พัดยศ โครงการ วัด ประชา รัฐ สร้างสุข ให้ “วัดวังสิงห์คำ” จังหวัดเชียงใหม่ วัดต้นแบบ สร้างมาตรฐานดีเด่น ระดับหนเหนือ ประจำปี พ.ศ.2565 โดยมีพระครูวิสิฐสีลาภรณ์ เจ้าคณะตำบลป่าแดด เจ้าอาวาสวัดวังสิงห์คำ เป็นผู้รับเนื่องในเทศกาลสัปดาห์ส่งเสริมกาเผยแผ่พระพุทธศาสนาวันมาฆบูชา ประจำปี 2566 โดยมีคณะสงฆ์ คณะศรัทธา ศิษยยานุศิษย์ ร่วมถวายมุทิตาจิต ณ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

ทรงวุฒิ ทับทอง / ณัฐพล แสนเมืองมา

วัดต้นแบบ สร้างมาตรฐานดีเด่น ระดับหนเหนือ

วัดต้นแบบ สร้างมาตรฐานดีเด่น ระดับหนเหนือ

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 พระเดชพระคุณ พระพรหมเสนาบดี กรรมการมหาเถรสมาคม,เจ้าคณะภาค ๗,เจ้าอาวาสวัดปทุมคงคา ราชวรวิหาร เป็นประธานมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ,พัดยศ โครงการ วัด ประชา รัฐ สร้างสุข ให้ “วัดวังสิงห์คำ” จังหวัดเชียงใหม่ วัดต้นแบบ สร้างมาตรฐานดีเด่น ระดับหนเหนือ ประจำปี พ.ศ.2565 โดยมีพระครูวิสิฐสีลาภรณ์ เจ้าคณะตำบลป่าแดด เจ้าอาวาสวัดวังสิงห์คำ เป็นผู้รับเนื่องในเทศกาลสัปดาห์ส่งเสริมกาเผยแผ่พระพุทธศาสนาวันมาฆบูชา ประจำปี 2566 โดยมีคณะสงฆ์ คณะศรัทธา ศิษยยานุศิษย์ ร่วมถวายมุทิตาจิต ณ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

ทรงวุฒิ ทับทอง / ณัฐพล แสนเมืองมา

สมาคมอินเดียพัทยาและสมาคมท่องเที่ยวในประเทศเสนอนายกเมืองพัทยาจัดเทศกาลแห่งสีสัน Happy Holi Festival of colours Pattaya Thailand หรือ เทศกาลสงกรานต์อินเดีย กระตุ้นสีสันหลังท่องเที่ยวอินเดียกลับมา

สมาคมอินเดียพัทยาและสมาคมท่องเที่ยวในประเทศเสนอนายกเมืองพัทยาจัดเทศกาลแห่งสีสัน Happy Holi Festival of colours Pattaya Thailand หรือ เทศกาลสงกรานต์อินเดีย กระตุ้นสีสันหลังท่องเที่ยวอินเดียกลับมา

วันที่ 28 ก.พ.66 ที่ห้องประชุม 131 ศาลาว่าการเมืองพัทยา จ.ชลบุรี สมาคมอินเดียพัทยาและสมาคมท่องเที่ยวในประเทศ นำโดย นายสุขราช ซิงห์ กาลรา ประธานสมาคมนักธุรกิจไทย-อินเดีย ได้เข้าพบนายปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ นายกเมืองพัทยา เพื่อนำเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมกระตุ้นการท่องเที่ยวหลังจากตัวเลขนักท่องเที่ยวอินเดียเพิ่มมากขึ้น หลังภาวะโควิด-19

ทั้งนี้ ได้เสนอรายละเอียดแผนการจัดงานเทศกาลแห่งสีสัน Happy Holi Festival of colours Pattaya Thailand หรือ เทศกาลสงกรานต์อินเดีย ในวันเสาร์ที่ 11 มีนาคม 2566 บริเวณลานอเนกประสงค์ริมชายหาดพัทยากลาง

เพื่อเป็นพื้นที่จัดกิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรม เผยแพร่วิถีชีวิตและความหลากหลายของชาวอินเดียที่มีความสวยงาม โดยภายในงานในช่วงเช้าจะได้จัดให้มีพิธีอัญเชิญและตกแต่งซุ้มสักการะและบูชาพระกฤษณะ ซุ้มอาหารและเครื่องดื่ม กิจกรรมแสงสีเสียง และการละเล่นสาดสีและสังสรรค์ในช่วงบ่ายและเย็น

อย่างไรก็ตาม นายปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ นายกเมืองพัทยา ได้แนะนำให้มีการทำหนังสือรายงานไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรีเพื่อขออนุญาตในเรื่องของการใช้สถานที่สาธารณะจัดกิจกรรม โดยเมืองพัทยาจะเป็นผู้ควบคุมดูแลเพื่อให้เกิดกิจกรรมทึ่ช่วยสร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่าง 2 ประเทศที่ดีเช่นนี้ต่อไปด้วย

(มีคลิป) อดีตประธาน ปปช. “วิลาศ จันทร์พิทักษ์” ฉายา “มือปราบโกง” และ “สมบูรณ์ ทองบุราณ” อดีต สส.และ สว.นักเคลื่อนไหวทางการเมืองและตรวจสอบทุจริตโครงการของรัฐ ลงพื้นที่ตรวจสอบการทุจริต โครงการก่อสร้างของกรมชลประทานในพื้นที่ จ.เชียงใหม่-ลำพูน

อดีตประธาน ปปช. “วิลาศ จันทร์พิทักษ์” ฉายา “มือปราบโกง” และ “สมบูรณ์ ทองบุราณ” อดีต สส.และ สว.นักเคลื่อนไหวทางการเมืองและตรวจสอบทุจริตโครงการของรัฐ ลงพื้นที่ตรวจสอบการทุจริต โครงการก่อสร้างของกรมชลประทานในพื้นที่ จ.เชียงใหม่-ลำพูน

เมื่อเวลา 09.00 น. วันที่ 28 ก.พ.2566 นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ อดีตประธาน ปปช.ฉายามือปราบโกง และนายสมบูรณ์ ทองบุราณ อดีต สส.และ สว.นักคลื่อนไหวทางการเมือง ได้ร่วมกันตรวจสอบทุจริตโครงการของรัฐ จุดแรกตรวจสอบโครงการก่อสร้างป้องกันตลิ่งพัง ที่ฝายดอยน้อย พื้นที่ หมู่ 5 บ้านห้วยโจ้ ติดกับวัดดอยน้อย อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่ โดยนายอาจ ปาป่าสัก แกนนำชาวบ้านห้วยโจ้ พร้อมชาวบ้านต้อนรับ และชาวบ้านได้นำป้ายเขียนข้อความ เช่น “งบก่อสร้าง 95,444,000 บาท ทำได้แค่นี้หรือ” และ ปราบคนโกง เปิดโปงคนชั่ว ไม่เกรงกลัวอิทธิพล” เป็นต้น

ได้ตรวจสอบจุดตลิ่งทรุด ถนนทรุดตัวริมลำน้ำปิง ฝั่งที่ติดวัดดอยน้อย อยู่ในเขต จ.เชียงใหม่ และร่องน้ำริมถนน สร้างไม่ดีมีหินขวางก็ก่อสร้างร่องไปจบที่ก้อนหิน น้ำไหลไม่ได้ ยังพบบันไดลงตลิ่งลำน้ำปิง ฝั่ง จ.ลำพูน ที่เกิดทรุดตัว แล้วพบว่า บันไดที่แตกแล้วทรุดตัวนั้นไม่มีเหล็กเส้นยึดอยู่ด้านในเลย มีเพียงปูนผสมหินและทรายเท่านั้น

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ฝายดอยน้อย วงเงินงบประมาณปี 2562-2563 จำนวน 95,444,000 บาท มีข้อสงสัย ชาวบ้านร้องเรียน การเรียงกล่อง Gabion การก่อสร้างงานทำนบชั่วคราว เพื่อป้องกันน้ำในลำน้ำปิงเอ่อท่วมบ้านเรือนชาวบ้าน ได้มาตราฐานหรือไม่ และงานถนนเลียบคัน มีการก่อสร้างเป็นไปตามแบบหรือไม่

ผู้แจ้งข้อมูลแจ้งว่า มีข้อสงศัยการทุจริตในเรื่องการจ้างแรงงานผี คือ จำนวนคนงานที่ใช้หน้างานจริง น้อยกว่าจำนวนคนงานที่ปรากฎในคำสั่งจ้างหรือไม่ เพราะเงินงบประมาณค่าแรงไม่สอดคล้องกับสภาพความพร้อมหน้างาน ในช่วงน้ำหลากเดือน ก.ค.- 1 ส.ค.ปี 2563 ไม่สามารถก่อสร้างได้ แต่ก็ยังมีการจ้างแรงงานตามปกติก็ขอให้ตรวจสอบด้วย

ยังมีข้อสงสัยการเบิกค่าแรงล่วงเวลาคนงาน ควรตรวจสอบว่า มีการนำเครื่องปั่นไฟมาใช้งานหรือไม่ (ถ้าไม่มีเครื่องปั่นไฟ กำเนิดไฟฟ้า จะทำล่วงเวลากันมืดๆ ได้อย่างไร), เครื่องปั่นไฟที่ใช้ ปกติจะใช้น้ำมันในการกำเนิดไฟฟ้า , โครงการฯ ได้มีเอกสารการคำเนินการเบิกจ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิงประกอบการทำงานล่วงเวลาหรือไม่ แรงงานชั่วคราว , ควรตรวจสอบภูมิลำเนา ถ้าเป็นคนต่างจังหวัดฯ (ไม่ใช่คนเชียงใหม่ หรือไกลจากจุดก่อสร้าง )โครงการได้จัดทำที่พักคนงาน โดยต้องมีจำนวนที่พัก สอดคล้องกับจำนวนคนงานตามคำสั่งจ้าง มีการขอใช้มิเตอร์ไฟฟ้าชั่วคราว หรือประปาชั่วคราว หรือ มีการขอต่อพ่วงสาธารณูปโภคพวกนี้ จากชาวบ้านบริเวณนั้นหรือไม่ สำหรับแค้มป์ที่พักคนงาน

ีข้อสงสัยอีก ปกติมีการรายงานผลการดำเนินการ เข้าสู่โครงการฯ และ รายงานต่อไปที่กองพัฒนาแหล่งน้ำขนาดกลาง และรายงานถึงรองอธิบดีฝ้ายก่อสร้าง , กรมฯ โดยรองธิบดีฝ่ายก่อสร้าง และ กองพัฒนาแหล่งน้ำ
ขนาคกลาง มีการกำกับติดตาม เรื่องพวกนี้อย่างไร หรือ เรื่องทุจริตนี้ ทำเป็นขบวนการหรือไม่ และผู้ใหญ่ในกรมฯรับรู้ว่ามีการทุจริตหรือไม่

อีกทั้งยังพบว่า ปัจจุบันงานยังไม่แล้วเสร็จ จากเอกสารแนบท้ายคณะกรรมการตรวจรับงาน ยังไม่ตรวจรับงาน แต่เบิกงบประมาณหมดแล้ว “การทุจริตที่สำนักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลางที่ 1 จ.เชียงใหม่ ทำกันเป็นขบวนการ หรือไม่ ซึ่งผู้ร้องเรียนเพราะสงสารชาวบ้าน เกษตรกร ที่ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการภาครัฐที่ไม่ถูกต้องตามแบบ และไม่ได้ตามสเปค ทุกกระบวนการต้องมีคนรับผิดชอบ

นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ อดีตประธาน ปปช.ฉายามือปราบโกง ได้ลงพื้นที่รับทราบปัญหาทั้งหมดแล้ว โดยจะได้ขอข้อมูล เอกสาร หลักฐานอื่นๆเพิ่มเติมอีก วันนี้พบมีการสร้างบันไดไม่มีเหล็กเส้นด้านใน และร่องน้ำที่ทำเป็นช่วงๆพอมีหินขวางก็เว้นไว้ แบบนี้ไม่ทำจะดีกว่า เมื่อมีหลักฐานครบ ต่อไปตนจะเป็นผู้ร้อง ปปช.เองโดยตรง มือปราบโกงกล่าว

จากนั้น คณะอดีต ปปช.และอดีต สว.ตรวจสอบสำนักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลาง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ และโครงการก่อสร้างฝายส่งน้ำปงตำ อ.ไชยปราการ จ.เชียงใหม่ ก็มีข้อสงสันว่าจะมีการทุจริตหรือไม่ด้วยเช่นกัน.

(มีคลิป) อดีตประธาน ปปช. “วิลาศ จันทร์พิทักษ์” ฉายา “มือปราบโกง” และ “สมบูรณ์ ทองบุราณ” อดีต สส.และ สว.นักเคลื่อนไหวทางการเมืองและตรวจสอบทุจริตโครงการของรัฐ ลงพื้นที่ตรวจสอบการทุจริต โครงการก่อสร้างของกรมชลประทานในพื้นที่ จ.เชียงใหม่-ลำพูน

อดีตประธาน ปปช. “วิลาศ จันทร์พิทักษ์” ฉายา “มือปราบโกง” และ “สมบูรณ์ ทองบุราณ” อดีต สส.และ สว.นักเคลื่อนไหวทางการเมืองและตรวจสอบทุจริตโครงการของรัฐ ลงพื้นที่ตรวจสอบการทุจริต โครงการก่อสร้างของกรมชลประทานในพื้นที่ จ.เชียงใหม่-ลำพูน

เมื่อเวลา 09.00 น. วันที่ 28 ก.พ.2566 นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ อดีตประธาน ปปช.ฉายามือปราบโกง และนายสมบูรณ์ ทองบุราณ อดีต สส.และ สว.นักคลื่อนไหวทางการเมือง ได้ร่วมกันตรวจสอบทุจริตโครงการของรัฐ จุดแรกตรวจสอบโครงการก่อสร้างป้องกันตลิ่งพัง ที่ฝายดอยน้อย พื้นที่ หมู่ 5 บ้านห้วยโจ้ ติดกับวัดดอยน้อย อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่ โดยนายอาจ ปาป่าสัก แกนนำชาวบ้านห้วยโจ้ พร้อมชาวบ้านต้อนรับ และชาวบ้านได้นำป้ายเขียนข้อความ เช่น “งบก่อสร้าง 95,444,000 บาท ทำได้แค่นี้หรือ” และ ปราบคนโกง เปิดโปงคนชั่ว ไม่เกรงกลัวอิทธิพล” เป็นต้น

ได้ตรวจสอบจุดตลิ่งทรุด ถนนทรุดตัวริมลำน้ำปิง ฝั่งที่ติดวัดดอยน้อย อยู่ในเขต จ.เชียงใหม่ และร่องน้ำริมถนน สร้างไม่ดีมีหินขวางก็ก่อสร้างร่องไปจบที่ก้อนหิน น้ำไหลไม่ได้ ยังพบบันไดลงตลิ่งลำน้ำปิง ฝั่ง จ.ลำพูน ที่เกิดทรุดตัว แล้วพบว่า บันไดที่แตกแล้วทรุดตัวนั้นไม่มีเหล็กเส้นยึดอยู่ด้านในเลย มีเพียงปูนผสมหินและทรายเท่านั้น

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ฝายดอยน้อย วงเงินงบประมาณปี 2562-2563 จำนวน 95,444,000 บาท มีข้อสงสัย ชาวบ้านร้องเรียน การเรียงกล่อง Gabion การก่อสร้างงานทำนบชั่วคราว เพื่อป้องกันน้ำในลำน้ำปิงเอ่อท่วมบ้านเรือนชาวบ้าน ได้มาตราฐานหรือไม่ และงานถนนเลียบคัน มีการก่อสร้างเป็นไปตามแบบหรือไม่

ผู้แจ้งข้อมูลแจ้งว่า มีข้อสงศัยการทุจริตในเรื่องการจ้างแรงงานผี คือ จำนวนคนงานที่ใช้หน้างานจริง น้อยกว่าจำนวนคนงานที่ปรากฎในคำสั่งจ้างหรือไม่ เพราะเงินงบประมาณค่าแรงไม่สอดคล้องกับสภาพความพร้อมหน้างาน ในช่วงน้ำหลากเดือน ก.ค.- 1 ส.ค.ปี 2563 ไม่สามารถก่อสร้างได้ แต่ก็ยังมีการจ้างแรงงานตามปกติก็ขอให้ตรวจสอบด้วย

ยังมีข้อสงสัยการเบิกค่าแรงล่วงเวลาคนงาน ควรตรวจสอบว่า มีการนำเครื่องปั่นไฟมาใช้งานหรือไม่ (ถ้าไม่มีเครื่องปั่นไฟ กำเนิดไฟฟ้า จะทำล่วงเวลากันมืดๆ ได้อย่างไร), เครื่องปั่นไฟที่ใช้ ปกติจะใช้น้ำมันในการกำเนิดไฟฟ้า , โครงการฯ ได้มีเอกสารการคำเนินการเบิกจ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิงประกอบการทำงานล่วงเวลาหรือไม่ แรงงานชั่วคราว , ควรตรวจสอบภูมิลำเนา ถ้าเป็นคนต่างจังหวัดฯ (ไม่ใช่คนเชียงใหม่ หรือไกลจากจุดก่อสร้าง )โครงการได้จัดทำที่พักคนงาน โดยต้องมีจำนวนที่พัก สอดคล้องกับจำนวนคนงานตามคำสั่งจ้าง มีการขอใช้มิเตอร์ไฟฟ้าชั่วคราว หรือประปาชั่วคราว หรือ มีการขอต่อพ่วงสาธารณูปโภคพวกนี้ จากชาวบ้านบริเวณนั้นหรือไม่ สำหรับแค้มป์ที่พักคนงาน

ีข้อสงสัยอีก ปกติมีการรายงานผลการดำเนินการ เข้าสู่โครงการฯ และ รายงานต่อไปที่กองพัฒนาแหล่งน้ำขนาดกลาง และรายงานถึงรองอธิบดีฝ้ายก่อสร้าง , กรมฯ โดยรองธิบดีฝ่ายก่อสร้าง และ กองพัฒนาแหล่งน้ำ
ขนาคกลาง มีการกำกับติดตาม เรื่องพวกนี้อย่างไร หรือ เรื่องทุจริตนี้ ทำเป็นขบวนการหรือไม่ และผู้ใหญ่ในกรมฯรับรู้ว่ามีการทุจริตหรือไม่

อีกทั้งยังพบว่า ปัจจุบันงานยังไม่แล้วเสร็จ จากเอกสารแนบท้ายคณะกรรมการตรวจรับงาน ยังไม่ตรวจรับงาน แต่เบิกงบประมาณหมดแล้ว “การทุจริตที่สำนักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลางที่ 1 จ.เชียงใหม่ ทำกันเป็นขบวนการ หรือไม่ ซึ่งผู้ร้องเรียนเพราะสงสารชาวบ้าน เกษตรกร ที่ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการภาครัฐที่ไม่ถูกต้องตามแบบ และไม่ได้ตามสเปค ทุกกระบวนการต้องมีคนรับผิดชอบ

นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ อดีตประธาน ปปช.ฉายามือปราบโกง ได้ลงพื้นที่รับทราบปัญหาทั้งหมดแล้ว โดยจะได้ขอข้อมูล เอกสาร หลักฐานอื่นๆเพิ่มเติมอีก วันนี้พบมีการสร้างบันไดไม่มีเหล็กเส้นด้านใน และร่องน้ำที่ทำเป็นช่วงๆพอมีหินขวางก็เว้นไว้ แบบนี้ไม่ทำจะดีกว่า เมื่อมีหลักฐานครบ ต่อไปตนจะเป็นผู้ร้อง ปปช.เองโดยตรง มือปราบโกงกล่าว

จากนั้น คณะอดีต ปปช.และอดีต สว.ตรวจสอบสำนักงานก่อสร้างชลประทานขนาดกลาง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ และโครงการก่อสร้างฝายส่งน้ำปงตำ อ.ไชยปราการ จ.เชียงใหม่ ก็มีข้อสงสันว่าจะมีการทุจริตหรือไม่ด้วยเช่นกัน.

Social Media Auto Publish Powered By : XYZScripts.com