google.com, pub-2709829493138336, DIRECT, f08c47fec0942fa0

สุราษฎร์ธานี// รมช.คลัง  ติดตามการแก้ปัญหาหนี้ลูกค้าของธนาคารออมสิน ยืนยันรัฐบาลเตรียมมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ทั้งในและนอกระบบ อย่างจริงจัง

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

วันที่ 1 ธ.ค.66 ที่ธนาคารออมสินภาค 16 อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี นายเจษฎา จิตรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้การต้อนรับ นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ซึ่งลงพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อติดตามมาตรการแก้ไขหนี้ตามนโยบายรัฐบาล เพื่อลูกหนี้รายย่อยธนาคารออมสิน ในโครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันนวมินทรมหาราช โดยธนาคารออมสินภาค 16 เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ของธนาคารที่ประสบปัญหาการผ่อนชำระ หรือบางส่วนที่มีสถานะเป็นหนี้เสีย (NPLs) เพื่อไกล่เกลี่ย ปรับโครงสร้างหนี้ หรือหามาตรการช่วยเหลืออื่นๆ ลดการฟ้องร้อง โดยมี นายศักดิ์สิทธิ์ สุนทรกุล ผู้อำนวยการธนาคารออมสินภาค 16 ผู้บริหารธนาคารออมสินในพื้นที่ หัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงการคลัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตลอดจนส่วนราชการในพื้นที่ ร่วมต้อนรับ

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ระบุว่า การจัดโครงการดังกล่าว เป็นโครงการของธนาคารออมสิน ที่ดำเนินการทั่วประเทศ เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ของธนาคาร ทั้งการลดภาระหนี้ หรือลดอัตราการผ่อนชำระ ลดปัญหาหนี้เสีย โดยรัฐบาล มีนโยบายสำคัญที่จะแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนให้กับประชาชน ซึ่งปัจจุบันมีตัวเลขราว 90% ของ GDP หรือเกือบ 16 ล้านล้านบาท รวมถึง หนี้นอกระบบที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าที่กฎหมายกำหนด และมีกระบวนการติดตามทวงถามหนี้ อย่างผิดกฎหมายหรือใช้ความรุนแรง โดยขณะนี้ กระทรวงมหาดไทย ได้เริ่งเปิดให้ลงทะเบียนตั้งแต่ ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 เพื่อนำลูกหนี้เหล่านี้ เข้าสู่ระบบ โดยมีธนาคารของรัฐ อย่างธนาคารออมสิน และ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ เป็นกลไกช่วยเหลือ ส่วนหนี้ในระบบ ไม่ว่าจะเป็นสินเชื่อบ้าน รถ หรือหนี้สินข้าราชการ ทางรัฐบาลก็จะมีมาตรการแก้ไขปัญหาออกมาด้วย

ส่วนกรณีปัญหาการเข้าถึงสินเชื่อของสถาบันการเงิน ทำให้ต้องไปพึ่งพาหนี้นอกระบบ รัฐบาล ได้พยายามดึงเจ้าหนี้นอกระบบ ให้เข้าสู่ระบบ ด้วยการตั้งเป็นพิโคไฟแนนซ์ หรือ ไมโครไฟแนนซ์ ซึ่งถูกกฎหมาย ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย ในอัตราดอกเบี้ยที่เป็นธรรม และมีเงื่อนไขการอนุมัติน้อยกว่าธนาคาร จึงเป็นอีกทางออกที่จะปัญหาหนี้นอกระบบได้ในระยะยาว

ข่าว/ภาพ – ส.ปชส.สุราษฎร์ธานี

สุราษฎร์ธานี// รมช.คลัง  ติดตามการแก้ปัญหาหนี้ลูกค้าของธนาคารออมสิน ยืนยันรัฐบาลเตรียมมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ทั้งในและนอกระบบ อย่างจริงจัง

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

วันที่ 1 ธ.ค.66 ที่ธนาคารออมสินภาค 16 อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี นายเจษฎา จิตรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้การต้อนรับ นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ซึ่งลงพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อติดตามมาตรการแก้ไขหนี้ตามนโยบายรัฐบาล เพื่อลูกหนี้รายย่อยธนาคารออมสิน ในโครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันนวมินทรมหาราช โดยธนาคารออมสินภาค 16 เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ของธนาคารที่ประสบปัญหาการผ่อนชำระ หรือบางส่วนที่มีสถานะเป็นหนี้เสีย (NPLs) เพื่อไกล่เกลี่ย ปรับโครงสร้างหนี้ หรือหามาตรการช่วยเหลืออื่นๆ ลดการฟ้องร้อง โดยมี นายศักดิ์สิทธิ์ สุนทรกุล ผู้อำนวยการธนาคารออมสินภาค 16 ผู้บริหารธนาคารออมสินในพื้นที่ หัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงการคลัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตลอดจนส่วนราชการในพื้นที่ ร่วมต้อนรับ

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ระบุว่า การจัดโครงการดังกล่าว เป็นโครงการของธนาคารออมสิน ที่ดำเนินการทั่วประเทศ เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ของธนาคาร ทั้งการลดภาระหนี้ หรือลดอัตราการผ่อนชำระ ลดปัญหาหนี้เสีย โดยรัฐบาล มีนโยบายสำคัญที่จะแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนให้กับประชาชน ซึ่งปัจจุบันมีตัวเลขราว 90% ของ GDP หรือเกือบ 16 ล้านล้านบาท รวมถึง หนี้นอกระบบที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าที่กฎหมายกำหนด และมีกระบวนการติดตามทวงถามหนี้ อย่างผิดกฎหมายหรือใช้ความรุนแรง โดยขณะนี้ กระทรวงมหาดไทย ได้เริ่งเปิดให้ลงทะเบียนตั้งแต่ ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 – 29 กุมภาพันธ์ 2567 เพื่อนำลูกหนี้เหล่านี้ เข้าสู่ระบบ โดยมีธนาคารของรัฐ อย่างธนาคารออมสิน และ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ เป็นกลไกช่วยเหลือ ส่วนหนี้ในระบบ ไม่ว่าจะเป็นสินเชื่อบ้าน รถ หรือหนี้สินข้าราชการ ทางรัฐบาลก็จะมีมาตรการแก้ไขปัญหาออกมาด้วย

ส่วนกรณีปัญหาการเข้าถึงสินเชื่อของสถาบันการเงิน ทำให้ต้องไปพึ่งพาหนี้นอกระบบ รัฐบาล ได้พยายามดึงเจ้าหนี้นอกระบบ ให้เข้าสู่ระบบ ด้วยการตั้งเป็นพิโคไฟแนนซ์ หรือ ไมโครไฟแนนซ์ ซึ่งถูกกฎหมาย ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย ในอัตราดอกเบี้ยที่เป็นธรรม และมีเงื่อนไขการอนุมัติน้อยกว่าธนาคาร จึงเป็นอีกทางออกที่จะปัญหาหนี้นอกระบบได้ในระยะยาว

ข่าว/ภาพ – ส.ปชส.สุราษฎร์ธานี

พัทลุง// ศอ.จอส.พระราชทานภาค 4 ขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาอำเภอต้นแบบตามแผนงานเสริมสร้างมวลชนจิตอาสาร่วมขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมสู่ชุมชนสุขภาวะ พร้อมรับมือภัยพิบัติเป้าหมายเพื่อสร้างความสุขให้กับประชาชน.

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.30 น. ณ ที่ว่าการอำเภอศรีนครินทร์จังหวัดพัทลุง พันเอกภัทรชัย แทนขำ รองเลขานุการ ศูนย์อำนวยการจิตอาสาพระราชทานภาค 4/หัวหน้าคณะทำงานขับเคลื่อนแผนงานเสริมสร้างมวลชนจิตอาสา เป็นประธานการประชุมชี้แจงแผน ทั้งนี้มี นางจริยา จันทร์ดำ นายอำเภอศรีนครินทร์/ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการจิตอาสาพระราชทานอำเภอศรีนครินทร์ ให้การต้อนรับ พร้อมด้วยส่วนราชการ ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานเครือข่ายสถานศึกษา หัวหน้าจิตอาสาภาคประชาชน หน่วยกองพันประจำเภอ ศูนย์การฝึกนักศึกษาวิชาทหาร และกลุ่มมวลชนต่าง ๆเข้าร่วมประชุม ชี้แจงผลการดำเนินการโครงการจิตอาสาพระราชทานที่ผ่านมา การดำเนินการของ ศูนย์ประสานงานมวลชนอำเภอ และ การขับเคลื่อนประเด็นคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ/ตำบล ผู้เข้าร่วมประชุม 45 คน ในการนี้ หัวหน้าคณะทำงานได้ชี้แจงแผนและกรอบแนวทางการประเมินผลให้ส่วนราชการของอำเภอศรีนครินทร์ได้รับทราบ

พันเอกภัทรชัย แทนขำ กล่าวว่า“โครงการจิตอาสาอำเภอต้นแบบ เป็นการขับเคลื่อนในอำเภอที่มีนายอำเภอเป็นจิตอาสา 904 ซึ่งในพื้นที่ภาค 4 มี จำนวน 26 คน ครอบคลุม 13 จังหวัด ยกเว้นจังหวัดยะลา การประเมินผลเป็นการต่อยอดการประเมินจากครั้งก่อน ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 มีการแบ่งมอบหน่วยให้เข้าไปแบบมีส่วนร่วม และมีความเป็นจิตอาสา เพราะทุกหน่วยทำอยู่ ก็คือเพื่อพี่น้องประชาชน โดยมีการสืบสานพระราชปณิธานของพระองค์ท่าน“ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข แก้ไขในสิ่งผิด สืบสานพระราชปณิธาน ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”.

พัทลุง// ศอ.จอส.พระราชทานภาค 4 ขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาอำเภอต้นแบบตามแผนงานเสริมสร้างมวลชนจิตอาสาร่วมขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมสู่ชุมชนสุขภาวะ พร้อมรับมือภัยพิบัติเป้าหมายเพื่อสร้างความสุขให้กับประชาชน.

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.30 น. ณ ที่ว่าการอำเภอศรีนครินทร์จังหวัดพัทลุง พันเอกภัทรชัย แทนขำ รองเลขานุการ ศูนย์อำนวยการจิตอาสาพระราชทานภาค 4/หัวหน้าคณะทำงานขับเคลื่อนแผนงานเสริมสร้างมวลชนจิตอาสา เป็นประธานการประชุมชี้แจงแผน ทั้งนี้มี นางจริยา จันทร์ดำ นายอำเภอศรีนครินทร์/ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการจิตอาสาพระราชทานอำเภอศรีนครินทร์ ให้การต้อนรับ พร้อมด้วยส่วนราชการ ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานเครือข่ายสถานศึกษา หัวหน้าจิตอาสาภาคประชาชน หน่วยกองพันประจำเภอ ศูนย์การฝึกนักศึกษาวิชาทหาร และกลุ่มมวลชนต่าง ๆเข้าร่วมประชุม ชี้แจงผลการดำเนินการโครงการจิตอาสาพระราชทานที่ผ่านมา การดำเนินการของ ศูนย์ประสานงานมวลชนอำเภอ และ การขับเคลื่อนประเด็นคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ/ตำบล ผู้เข้าร่วมประชุม 45 คน ในการนี้ หัวหน้าคณะทำงานได้ชี้แจงแผนและกรอบแนวทางการประเมินผลให้ส่วนราชการของอำเภอศรีนครินทร์ได้รับทราบ

พันเอกภัทรชัย แทนขำ กล่าวว่า“โครงการจิตอาสาอำเภอต้นแบบ เป็นการขับเคลื่อนในอำเภอที่มีนายอำเภอเป็นจิตอาสา 904 ซึ่งในพื้นที่ภาค 4 มี จำนวน 26 คน ครอบคลุม 13 จังหวัด ยกเว้นจังหวัดยะลา การประเมินผลเป็นการต่อยอดการประเมินจากครั้งก่อน ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 มีการแบ่งมอบหน่วยให้เข้าไปแบบมีส่วนร่วม และมีความเป็นจิตอาสา เพราะทุกหน่วยทำอยู่ ก็คือเพื่อพี่น้องประชาชน โดยมีการสืบสานพระราชปณิธานของพระองค์ท่าน“ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข แก้ไขในสิ่งผิด สืบสานพระราชปณิธาน ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”.

พัทลุง// ศอ.จอส.พระราชทานภาค 4 ขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาอำเภอต้นแบบตามแผนงานเสริมสร้างมวลชนจิตอาสาร่วมขับเคลื่อนชุมชนคุณธรรมสู่ชุมชนสุขภาวะ พร้อมรับมือภัยพิบัติเป้าหมายเพื่อสร้างความสุขให้กับประชาชน.

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.30 น. ณ ที่ว่าการอำเภอศรีนครินทร์จังหวัดพัทลุง พันเอกภัทรชัย แทนขำ รองเลขานุการ ศูนย์อำนวยการจิตอาสาพระราชทานภาค 4/หัวหน้าคณะทำงานขับเคลื่อนแผนงานเสริมสร้างมวลชนจิตอาสา เป็นประธานการประชุมชี้แจงแผน ทั้งนี้มี นางจริยา จันทร์ดำ นายอำเภอศรีนครินทร์/ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการจิตอาสาพระราชทานอำเภอศรีนครินทร์ ให้การต้อนรับ พร้อมด้วยส่วนราชการ ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานเครือข่ายสถานศึกษา หัวหน้าจิตอาสาภาคประชาชน หน่วยกองพันประจำเภอ ศูนย์การฝึกนักศึกษาวิชาทหาร และกลุ่มมวลชนต่าง ๆเข้าร่วมประชุม ชี้แจงผลการดำเนินการโครงการจิตอาสาพระราชทานที่ผ่านมา การดำเนินการของ ศูนย์ประสานงานมวลชนอำเภอ และ การขับเคลื่อนประเด็นคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ/ตำบล ผู้เข้าร่วมประชุม 45 คน ในการนี้ หัวหน้าคณะทำงานได้ชี้แจงแผนและกรอบแนวทางการประเมินผลให้ส่วนราชการของอำเภอศรีนครินทร์ได้รับทราบ

พันเอกภัทรชัย แทนขำ กล่าวว่า“โครงการจิตอาสาอำเภอต้นแบบ เป็นการขับเคลื่อนในอำเภอที่มีนายอำเภอเป็นจิตอาสา 904 ซึ่งในพื้นที่ภาค 4 มี จำนวน 26 คน ครอบคลุม 13 จังหวัด ยกเว้นจังหวัดยะลา การประเมินผลเป็นการต่อยอดการประเมินจากครั้งก่อน ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 มีการแบ่งมอบหน่วยให้เข้าไปแบบมีส่วนร่วม และมีความเป็นจิตอาสา เพราะทุกหน่วยทำอยู่ ก็คือเพื่อพี่น้องประชาชน โดยมีการสืบสานพระราชปณิธานของพระองค์ท่าน“ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข แก้ไขในสิ่งผิด สืบสานพระราชปณิธาน ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”.

สุราษฎร์ธานี// สุราษฎร์ฯ ฝนตกต่อเนื่อง ปชช.ได้รับผลกระทบหน่วยงานเกี่ยวข้องเร่งให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ล่าสุดฝนเริ่มซาแล้ว.

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

นายบุญเรือง หลงละลวด หัวหน้าสำนักงาน ปภ.สุราษฎร์ธานี เปิดเผยว่า ห้วงวันที่ 26 – 29 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมาได้เกิดฝนตกหนัก คลื่นลมแรง และน้ำทะเลหนุนสูงในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันในพื้นที่ 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกาญจนดิษฐ์ ดอนสัก พุนพิน บ้านนาเดิม ท่าฉาง บ้านนาสาร ไชยา และอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี รวม 36 ตำบล 159 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ จำนวน 3,270 ครัวเรือน 9,934 คน

โดยหน่วยงานภาครัฐ ทหาร ตำรวจ พลเรือน ภาคเอกชน จิตอาสา และผู้เกี่ยวข้อง ได้ลงพื้นที่ให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นแล้ว โดยสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สุราษฎร์ธานี และสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการส่งมอบหญ้าแห้งพระราชทานให้แก่เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในพื้นที่อำเภอดอนสัก จำนวน 4,000 กก. และอำเภอกาญจนดิษฐ์ จำนวน 5,000 กก. เพื่อใช้เป็นเสบียงสัตว์ ขณะที่สาธารณสุขจังหวัด พร้อมทีมบุคลากรสาธารณสุข อสม. ลงพื้นเยี่ยม รพ.สต.ช้างซ้าย เยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง 3 หลัง ผู้ประสบภัยน้ำท่วม 5 หลัง แจกจ่ายยาตำราหลวง 50 ชุด ในพื้นที่หมู่ 6 ตำบลช้างซ้าย และมอบรองเท้าบู้ธจำนวน 50 คู่ ให้กับ รพสต.กรูด. และ รพสต.ช้างซ้าย อ.กาญจนดิษฐ์

ด้านศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ อุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้การนำของนายเจษฎา จิตรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้เน้นย้ำให้อำเภอและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และคลื่นลมแรง ตั้งแต่วันที่ 28 – 30 พฤศจิกายน 2566

พร้อมกับเร่งสำรวจความเสียหาย เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทุกด้าน ทั้งในเบื้องต้นและในระยะยาว รวมถึงเตรียมความพร้อม เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องจักรกลยุทโธปกรณ์ กำลังพล พร้อมให้ความช่วยเหลือตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อได้รับการร้องขอ และขอให้จัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง ล่าสุดมีรายงานว่าฝนเริ่มซาในหลายพื้นที่ซึ่งมีน้ำรอระบายต่อไป.

สุราษฎร์ธานี// สุราษฎร์ฯ ฝนตกต่อเนื่อง ปชช.ได้รับผลกระทบหน่วยงานเกี่ยวข้องเร่งให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ล่าสุดฝนเริ่มซาแล้ว.

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

นายบุญเรือง หลงละลวด หัวหน้าสำนักงาน ปภ.สุราษฎร์ธานี เปิดเผยว่า ห้วงวันที่ 26 – 29 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมาได้เกิดฝนตกหนัก คลื่นลมแรง และน้ำทะเลหนุนสูงในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันในพื้นที่ 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกาญจนดิษฐ์ ดอนสัก พุนพิน บ้านนาเดิม ท่าฉาง บ้านนาสาร ไชยา และอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี รวม 36 ตำบล 159 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ จำนวน 3,270 ครัวเรือน 9,934 คน

โดยหน่วยงานภาครัฐ ทหาร ตำรวจ พลเรือน ภาคเอกชน จิตอาสา และผู้เกี่ยวข้อง ได้ลงพื้นที่ให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นแล้ว โดยสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สุราษฎร์ธานี และสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการส่งมอบหญ้าแห้งพระราชทานให้แก่เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในพื้นที่อำเภอดอนสัก จำนวน 4,000 กก. และอำเภอกาญจนดิษฐ์ จำนวน 5,000 กก. เพื่อใช้เป็นเสบียงสัตว์ ขณะที่สาธารณสุขจังหวัด พร้อมทีมบุคลากรสาธารณสุข อสม. ลงพื้นเยี่ยม รพ.สต.ช้างซ้าย เยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง 3 หลัง ผู้ประสบภัยน้ำท่วม 5 หลัง แจกจ่ายยาตำราหลวง 50 ชุด ในพื้นที่หมู่ 6 ตำบลช้างซ้าย และมอบรองเท้าบู้ธจำนวน 50 คู่ ให้กับ รพสต.กรูด. และ รพสต.ช้างซ้าย อ.กาญจนดิษฐ์

ด้านศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ อุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้การนำของนายเจษฎา จิตรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้เน้นย้ำให้อำเภอและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และคลื่นลมแรง ตั้งแต่วันที่ 28 – 30 พฤศจิกายน 2566

พร้อมกับเร่งสำรวจความเสียหาย เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทุกด้าน ทั้งในเบื้องต้นและในระยะยาว รวมถึงเตรียมความพร้อม เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องจักรกลยุทโธปกรณ์ กำลังพล พร้อมให้ความช่วยเหลือตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อได้รับการร้องขอ และขอให้จัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง ล่าสุดมีรายงานว่าฝนเริ่มซาในหลายพื้นที่ซึ่งมีน้ำรอระบายต่อไป.

สุราษฎร์ธานี// สุราษฎร์ฯ ฝนตกต่อเนื่อง ปชช.ได้รับผลกระทบหน่วยงานเกี่ยวข้องเร่งให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ล่าสุดฝนเริ่มซาแล้ว.

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

นายบุญเรือง หลงละลวด หัวหน้าสำนักงาน ปภ.สุราษฎร์ธานี เปิดเผยว่า ห้วงวันที่ 26 – 29 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมาได้เกิดฝนตกหนัก คลื่นลมแรง และน้ำทะเลหนุนสูงในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันในพื้นที่ 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกาญจนดิษฐ์ ดอนสัก พุนพิน บ้านนาเดิม ท่าฉาง บ้านนาสาร ไชยา และอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี รวม 36 ตำบล 159 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ จำนวน 3,270 ครัวเรือน 9,934 คน

โดยหน่วยงานภาครัฐ ทหาร ตำรวจ พลเรือน ภาคเอกชน จิตอาสา และผู้เกี่ยวข้อง ได้ลงพื้นที่ให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นแล้ว โดยสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สุราษฎร์ธานี และสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการส่งมอบหญ้าแห้งพระราชทานให้แก่เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในพื้นที่อำเภอดอนสัก จำนวน 4,000 กก. และอำเภอกาญจนดิษฐ์ จำนวน 5,000 กก. เพื่อใช้เป็นเสบียงสัตว์ ขณะที่สาธารณสุขจังหวัด พร้อมทีมบุคลากรสาธารณสุข อสม. ลงพื้นเยี่ยม รพ.สต.ช้างซ้าย เยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง 3 หลัง ผู้ประสบภัยน้ำท่วม 5 หลัง แจกจ่ายยาตำราหลวง 50 ชุด ในพื้นที่หมู่ 6 ตำบลช้างซ้าย และมอบรองเท้าบู้ธจำนวน 50 คู่ ให้กับ รพสต.กรูด. และ รพสต.ช้างซ้าย อ.กาญจนดิษฐ์

ด้านศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ อุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้การนำของนายเจษฎา จิตรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้เน้นย้ำให้อำเภอและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และคลื่นลมแรง ตั้งแต่วันที่ 28 – 30 พฤศจิกายน 2566

พร้อมกับเร่งสำรวจความเสียหาย เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทุกด้าน ทั้งในเบื้องต้นและในระยะยาว รวมถึงเตรียมความพร้อม เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องจักรกลยุทโธปกรณ์ กำลังพล พร้อมให้ความช่วยเหลือตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อได้รับการร้องขอ และขอให้จัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง ล่าสุดมีรายงานว่าฝนเริ่มซาในหลายพื้นที่ซึ่งมีน้ำรอระบายต่อไป.

สุราษฎร์ธานี// สุราษฎร์ฯ ฝนตกต่อเนื่อง ปชช.ได้รับผลกระทบหน่วยงานเกี่ยวข้องเร่งให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ล่าสุดฝนเริ่มซาแล้ว.

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

นายบุญเรือง หลงละลวด หัวหน้าสำนักงาน ปภ.สุราษฎร์ธานี เปิดเผยว่า ห้วงวันที่ 26 – 29 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมาได้เกิดฝนตกหนัก คลื่นลมแรง และน้ำทะเลหนุนสูงในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันในพื้นที่ 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกาญจนดิษฐ์ ดอนสัก พุนพิน บ้านนาเดิม ท่าฉาง บ้านนาสาร ไชยา และอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี รวม 36 ตำบล 159 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ จำนวน 3,270 ครัวเรือน 9,934 คน

โดยหน่วยงานภาครัฐ ทหาร ตำรวจ พลเรือน ภาคเอกชน จิตอาสา และผู้เกี่ยวข้อง ได้ลงพื้นที่ให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นแล้ว โดยสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สุราษฎร์ธานี และสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการส่งมอบหญ้าแห้งพระราชทานให้แก่เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในพื้นที่อำเภอดอนสัก จำนวน 4,000 กก. และอำเภอกาญจนดิษฐ์ จำนวน 5,000 กก. เพื่อใช้เป็นเสบียงสัตว์ ขณะที่สาธารณสุขจังหวัด พร้อมทีมบุคลากรสาธารณสุข อสม. ลงพื้นเยี่ยม รพ.สต.ช้างซ้าย เยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง 3 หลัง ผู้ประสบภัยน้ำท่วม 5 หลัง แจกจ่ายยาตำราหลวง 50 ชุด ในพื้นที่หมู่ 6 ตำบลช้างซ้าย และมอบรองเท้าบู้ธจำนวน 50 คู่ ให้กับ รพสต.กรูด. และ รพสต.ช้างซ้าย อ.กาญจนดิษฐ์

ด้านศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ อุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้การนำของนายเจษฎา จิตรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้เน้นย้ำให้อำเภอและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และคลื่นลมแรง ตั้งแต่วันที่ 28 – 30 พฤศจิกายน 2566

พร้อมกับเร่งสำรวจความเสียหาย เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทุกด้าน ทั้งในเบื้องต้นและในระยะยาว รวมถึงเตรียมความพร้อม เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องจักรกลยุทโธปกรณ์ กำลังพล พร้อมให้ความช่วยเหลือตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อได้รับการร้องขอ และขอให้จัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง ล่าสุดมีรายงานว่าฝนเริ่มซาในหลายพื้นที่ซึ่งมีน้ำรอระบายต่อไป.

สุราษฎร์ธานี// สุราษฎร์ฯ ฝนตกต่อเนื่อง ปชช.ได้รับผลกระทบหน่วยงานเกี่ยวข้องเร่งให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ล่าสุดฝนเริ่มซาแล้ว.

รายงาน : พจน์ คำจันทร์

นายบุญเรือง หลงละลวด หัวหน้าสำนักงาน ปภ.สุราษฎร์ธานี เปิดเผยว่า ห้วงวันที่ 26 – 29 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมาได้เกิดฝนตกหนัก คลื่นลมแรง และน้ำทะเลหนุนสูงในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันในพื้นที่ 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกาญจนดิษฐ์ ดอนสัก พุนพิน บ้านนาเดิม ท่าฉาง บ้านนาสาร ไชยา และอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี รวม 36 ตำบล 159 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ จำนวน 3,270 ครัวเรือน 9,934 คน

โดยหน่วยงานภาครัฐ ทหาร ตำรวจ พลเรือน ภาคเอกชน จิตอาสา และผู้เกี่ยวข้อง ได้ลงพื้นที่ให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นแล้ว โดยสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์สุราษฎร์ธานี และสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการส่งมอบหญ้าแห้งพระราชทานให้แก่เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในพื้นที่อำเภอดอนสัก จำนวน 4,000 กก. และอำเภอกาญจนดิษฐ์ จำนวน 5,000 กก. เพื่อใช้เป็นเสบียงสัตว์ ขณะที่สาธารณสุขจังหวัด พร้อมทีมบุคลากรสาธารณสุข อสม. ลงพื้นเยี่ยม รพ.สต.ช้างซ้าย เยี่ยมผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง 3 หลัง ผู้ประสบภัยน้ำท่วม 5 หลัง แจกจ่ายยาตำราหลวง 50 ชุด ในพื้นที่หมู่ 6 ตำบลช้างซ้าย และมอบรองเท้าบู้ธจำนวน 50 คู่ ให้กับ รพสต.กรูด. และ รพสต.ช้างซ้าย อ.กาญจนดิษฐ์

ด้านศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ อุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้การนำของนายเจษฎา จิตรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้เน้นย้ำให้อำเภอและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และคลื่นลมแรง ตั้งแต่วันที่ 28 – 30 พฤศจิกายน 2566

พร้อมกับเร่งสำรวจความเสียหาย เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทุกด้าน ทั้งในเบื้องต้นและในระยะยาว รวมถึงเตรียมความพร้อม เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องจักรกลยุทโธปกรณ์ กำลังพล พร้อมให้ความช่วยเหลือตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อได้รับการร้องขอ และขอให้จัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง ล่าสุดมีรายงานว่าฝนเริ่มซาในหลายพื้นที่ซึ่งมีน้ำรอระบายต่อไป.

Social Media Auto Publish Powered By : XYZScripts.com